วันพฤหัสบดีที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2560

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ หน่วยการเรียนรู้ที่9 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ หน่วยการเรียนรู้ที่9 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ

 หน่วยการเรียนรู้ที่9 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ

- การกำหนดลำดับการแสดงลูกเล่นภายในสไลด์
รูปแบบในการใส่ลูกเล่นในงานนำเสนอ
 นำเสนอแบ่งออกเป็น 2 แบบใหญ่ๆ คือ
1. การใสลูกเล่นให้กับหน้าสไลด์
 จะเป็นการสร้างความเคลื่อนไหวให้กับหน้าสไลด์ที่กำลังแสดงและจบลง โดยมีขั้นตอนในการสร้างดังนี้
- เลือกสไลด์ที่ต้องการลูกเล่น
- คลิกแท็บการเปลี่ยน (Transitions)
- เลือกรูปแบบการเปลี่ยนสไลด์
- เลือกเสียง (Sound) ประกอบให้กับสไลด์
- ระยะเวลาการเล่น
2. การใส่ลูกเล่นให้กับวัตถุภายในสไลด์
 จะเป็นการสร้างการเคลื่อนไหวให้กับองค์ประกอบต่างๆ ที่อยู่ภายในสไลด์โดยแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
 1. การใส่ลูกเล่นอย่างง่าย
 วิธีเหมาะสำหรับมือถือใหม่ที่พึ่งหัดใช้โปรแกรมเพราะโปรแกรมจะมีรูปแบบสำเร็จรูปไว้ให้เลือกใช้งานได้ตามความพอใจ ซึ่งวิธีนี้เป็นวิธีที่สะดวกและรวดเร็วที่สุด
- คลิกเลือกวัตถุที่ต้องการใส่ลูกเล่น
- คลิกแท็บภาพเคลื่อนไหว
- เลือกรูปแบบที่ต้องการ
2. การใส่ลูกเล่นแบบกำหนดเอง
 เป็นการใส่ลูกเล่นให้มีความโดดเด่นกว่าลูกเล่นที่โปรแกรมได้กำหนดให้ ทำให้กำหนดได้โดยไม่ต้องซ้ำแบบใคร โดยมีขั้นตอนในการใส่ดังนี้
- เลือกวัตถุที่ต้องการ
- คลิกที่แท็ปภาพเคลื่อนไหว (Animation)
- เลือกเพิ่มภาพเคลื่อนไหว (Add Animation)
- เลือกลูกเล่นให้กับวัตถุ
- กำหนดความเร็ว

โดยในโปรแกรมได้แบ่งลูกเล่นต่างๆออกเป็นหมวดหมู่ดังนี้
มีเอฟเฟ็กต์ภาพเคลื่อนไหวอยู่สี่ประเภทด้วยกัน ได้แก่
เอฟเฟ็กต์ เข้า จะทำให้วัตถุค่อยๆ ปรากฏในโฟกัส หรือลอยเข้ามาจากขอบด้านใดด้านหนึ่งของสไลด์ หรือเด้งเข้ามาก็ได้
เอฟเฟ็กต์ ออก จะรวมถึงการทำให้วัตถุลอยออกไปจากสไลด์ หายไปจากมุมมอง หรือหมุนตัวออกไปจากสไลด์
เอฟเฟ็กต์ เน้น จะทำให้วัตถุลดหรือเพิ่มขนาด เปลี่ยนสี หรือหมุนรอบตัวเอง

การกำหนดลูกเล่นหลายแบบให้กับวัตถุชิ้นเดียว
ในPowerPoint 2010 และรุ่นที่ใหม่ กว่า คุณสามารถใช้ลักษณะพิเศษภาพเคลื่อนไหว (ภาพเคลื่อนไหว) กับข้อความ รูปภาพ รูปร่าง กราฟิก SmartArt และ อื่น ๆ เพื่อให้พวกเขาเล่นในการนำเสนอภาพนิ่งของคุณ สร้างงานนำเสนอภาพนิ่งที่ animates คะแนนแสดงหัวข้อย่อยหรือแม้แต่ผลิตเครดิต

การกำหนดลำดับการแสดงลูกเล่นภายในสไลด์
 สามารถกำหนดลำดับการแสดงข้อมูลของลูกเล่นที่กำหนดไว้ภายในสไลด์ได้ดังนี้
- คลิกเลือกรายการที่ต้องการเปลี่ยนแปลง
- คลิกเมาส์เลือกสลับตำแหน่งที่ต้องการ
- รายการภาพเคลื่อนไหวจะถูกสลับตำแหน่ง

การยกเลิกลูกเล่นภายในสไลด์
 หากลูกเล่นที่ได้กำหนดไว้ยังไม่เป็นที่น่าพอใจนัก สามารถเลิกหรือเปลี่ยนได้ดังนี้
 - คลิกรายการที่ต้องการยกเลิก
 - จะปรากฏลูกศรหัวลง (Drop Down) คลิกที่ลูกศร
 - คลิกเลือกเอาออก (Remove)

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอหน่วยการเรียนรู้ ที่3 ขั้นตอนการวางโครงร่างและการสร้างสไลต์

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอหน่วยการเรียนรู้ ที่3 ขั้นตอนการวางโครงร่างและการสร้างสไลต์

หน่วยการเรียนรู้ ที่3 ขั้นตอนการวางโครงร่างและการสร้างสไลต์

- ความหมายของการนำเสนอข้อมูล
ความหมายของการนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอข้อมูล หมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอข้อมูล ความรู้ ความคิดเห็นหรือ ความต้องการไปสู่ผู้รับสาร โดยใช้เทคนิคหรือวิธีการต่าง ๆ อันจะทำให้บรรลุผลสำเร็จตามจุดมุ่งหมายของการนำเสนอ


ความสำคัญของการนำเสนอ

ในปัจจุบันนี้การนำเสนอเข้ามามีบทบาทสำคัญในองค์กรทางธุรกิจ ทางการเมืองทางการศึกษา หรือแม้แต่หน่วยงานของรัฐทุกแห่งก็ต้องอาศัยวิธีการนำเสนอเพื่อสื่อสารข้อมูลเสนอความเห็น เสนอขออนุมัติ หรือเสนอข้อสรุปผลการดำเนินงานต่าง ๆ ผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ การแนะนำเพื่อการเยี่ยมชม การฝึกอบรม การประชุม หรือผู้ที่เป็นหัวหน้างานทุกระดับจะต้องรู้จักวิธีการนำเสนอ เพื่อนำไปใช้ให้เหมาะสมกับงานต่าง ๆ และเพื่อผลสำเร็จของการพัฒนางานของตน หรือขององค์กรและหน่วยต่าง ๆ กล่าวโดยสรุปการนำเสนอมีความสำคัญ ต่อการปฏิบัติงานทุกประเภท เพราะช่วยในการตัดสินใจในการดำเนินงาน ใช้ในการพัฒนางาน ตลอดจน เผยแพร่ความก้าวหน้าของงานต่อผู้บังคับบัญชาและบุคคลผู้ที่สนใจ
จุดมุ่งหมายในการนำเสนอ
1.เพื่อให้ผู้รับสารรับทราบความคิดเห็นหรือความต้องการ
2.เพื่อให้ผู้รับสารพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
3.เพื่อให้ผู้รับสารได้รับความรู้จากข้อมูลที่นำเสนอ
4.เพื่อให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง
- powerpoint กับการนำเสนอข้อมูล

PowerPoint กับการนำเสนอข้อมูล

  1. บนแท็บ ไฟล์ ให้เลือก บันทึก
  2. เลือกหรือเรียกดูโฟลเดอร์
  3. ในกล่อง ชื่อไฟล์ ให้พิมพ์ชื่อสำหรับงานนำเสนอของคุณ แล้วเลือก บันทึก
หมายเหตุ  ถ้าคุณบันทึกไฟล์ลงในโฟลเดอร์บางโฟลเดอร์เป็นประจำ คุณสามารถ "ตรึง" เส้นทางนั้น เพื่อให้โฟลเดอร์ดังกล่าวพร้อมใช้งานอยู่เสมอได้ (ตามที่แสดงด้านล่างนี้)
บันทึกงานนำเสนอ PowerPoint ของคุณ

ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้

ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้

- โปรแกรม Scan Disk
การใช้งาน Scan Disk สำหรับตรวจสอบข้อผิดพลาดของ ฮาร์ดดิสก์ สำหรับ Windows XP 
1. ดับเบิ้ลคลิกที่ My Computer คลิกขวาไดร์ฟที่ต้องการทำ Scan Disk เลือก Properties 

2. คลิกที่แท็บ Tools จากนั้นคลิกที่ Check Now…

3. คลิกเครื่องหมายถูกที่ Scan for and attempt recovery of bad sectors แล้วคลิก Start




4. รอสักครู่เครื่องจะทำการ Scan Disk 




5. เมื่อเครื่องทำการ Scan Disk เสร็จก็จะรายงานได้ทราบ ให้คลิก OK



- โปรแกรมรักษาจอภาพ (Screen Saver)

  Screen Saver คือ โปรแกรมที่ทำหน้าที่รักษาจอภาพ หากเราเปิดคอมพิวเตอร์ทิ้งเอาไว้นาน ๆ โดยปล่อยให้จอภาพแสดงภาพเดิมโดยไม่มีการเคลื่อนไหวใดๆเลย จะทำให้จอภาพของเรามีรอยไหม้เกิดขึ้น และรอยนี้จะติดอยู่ตลอดไป ลบออกไม่ได้ หรือไม่บางทีอาจทำให้จอมืดไปเลยก็มี เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วจึงมีมนุษย์คิดประดิษฐ์โปรแกรมถนอมจอภาพนี้ขึ้น ด้วยหลักที่ว่า หากเราไม่ได้แตะต้องคอมโดยปล่อยให้จอภาพค้างภาพเดิมอยู่นาน X นาที ( X= ระยะเวลาที่เราสามารถกำหนดเองได้) ตัวโปรแกรม Screen Saver ก็จะทำงานทันที โดยบางโปรแกรมอาจมีภาพเคลื่อนไหว หรือตัวหนังสือวิ่งไปวิ่งมา หรือบางโปรแกรมอาจมีเสียงเพลงดังขึ้นมาด้วย เมื่อเราขยับเมาส์ หรือแตะที่แป้นพิมพ์แป้นใดแป้นหนึ่ง ข้อความหรือภาพบนจอที่เคลื่อนไหวอยู่ ก็จะหายไป และกลับเป็นหน้าจอเหมือนเดิม 
       Screen Saver เหล่านี้จะช่วยให้จอมีการแสดงภาพเปลี่ยนไปมาเรื่อย ๆ เพื่อรักษาหน้าจอเท่านั้น ไม่ได้เป็นการพักเครื่องหรือพักการทำงานของ CPU เพราะซีพียู ยังคงจะต้องทำงาน อยู่เหมือนเดิม เจ้า Screen Saver นี้สามารถดาวน์โหลดได้ในอินเตอร์เน็ต และทำการติดตั้งได้ง่าย โดยโปรแกรม Screen Saver ส่วนใหญ่จะมีชื่อนามสกุลของไฟล์เป็น .scr ให้ทำการ copy ไฟล์นั้นไปเก็บไว้ใน Folder ที่ชื่อ C:\WINDOWS\SYSTEM หลังจากนั้น เมื่อเข้ามาดูในเมนูของการเลือก Screen Saver จะเห็นรายชื่อเพิ่มเติมเข้ามาให้เลือกใช้งานได้ หรือหากยังไม่ถูกใจ เลยอยากลองทำ Screen Saver ด้วยตัวเองก็มีโปรแกรมช่วยสร้าง Screen Saver มากมาย อาทิเช่น PK Screen Saver, InstantStorm 2.0 , Nature Illusion Screensaver , Screen Saver Studio v2.01, Active Screen Saver Builder เป็นต้น

ตัวอย่างโปรแกรม Screen Saver ใน Windows 

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ หน่วยการเรียนรู้ที่9 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ หน่วยการเรียนรู้ที่9 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ

 หน่วยการเรียนรู้ที่9 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ

- การกำหนดลำดับการแสดงลูกเล่นภายในสไลด์
รูปแบบในการใส่ลูกเล่นในงานนำเสนอ
 นำเสนอแบ่งออกเป็น 2 แบบใหญ่ๆ คือ
1. การใสลูกเล่นให้กับหน้าสไลด์
 จะเป็นการสร้างความเคลื่อนไหวให้กับหน้าสไลด์ที่กำลังแสดงและจบลง โดยมีขั้นตอนในการสร้างดังนี้
- เลือกสไลด์ที่ต้องการลูกเล่น
- คลิกแท็บการเปลี่ยน (Transitions)
- เลือกรูปแบบการเปลี่ยนสไลด์
- เลือกเสียง (Sound) ประกอบให้กับสไลด์
- ระยะเวลาการเล่น
2. การใส่ลูกเล่นให้กับวัตถุภายในสไลด์
 จะเป็นการสร้างการเคลื่อนไหวให้กับองค์ประกอบต่างๆ ที่อยู่ภายในสไลด์โดยแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
 1. การใส่ลูกเล่นอย่างง่าย
 วิธีเหมาะสำหรับมือถือใหม่ที่พึ่งหัดใช้โปรแกรมเพราะโปรแกรมจะมีรูปแบบสำเร็จรูปไว้ให้เลือกใช้งานได้ตามความพอใจ ซึ่งวิธีนี้เป็นวิธีที่สะดวกและรวดเร็วที่สุด
- คลิกเลือกวัตถุที่ต้องการใส่ลูกเล่น
- คลิกแท็บภาพเคลื่อนไหว
- เลือกรูปแบบที่ต้องการ
2. การใส่ลูกเล่นแบบกำหนดเอง
 เป็นการใส่ลูกเล่นให้มีความโดดเด่นกว่าลูกเล่นที่โปรแกรมได้กำหนดให้ ทำให้กำหนดได้โดยไม่ต้องซ้ำแบบใคร โดยมีขั้นตอนในการใส่ดังนี้
- เลือกวัตถุที่ต้องการ
- คลิกที่แท็ปภาพเคลื่อนไหว (Animation)
- เลือกเพิ่มภาพเคลื่อนไหว (Add Animation)
- เลือกลูกเล่นให้กับวัตถุ
- กำหนดความเร็ว

โดยในโปรแกรมได้แบ่งลูกเล่นต่างๆออกเป็นหมวดหมู่ดังนี้
มีเอฟเฟ็กต์ภาพเคลื่อนไหวอยู่สี่ประเภทด้วยกัน ได้แก่
เอฟเฟ็กต์ เข้า จะทำให้วัตถุค่อยๆ ปรากฏในโฟกัส หรือลอยเข้ามาจากขอบด้านใดด้านหนึ่งของสไลด์ หรือเด้งเข้ามาก็ได้
เอฟเฟ็กต์ ออก จะรวมถึงการทำให้วัตถุลอยออกไปจากสไลด์ หายไปจากมุมมอง หรือหมุนตัวออกไปจากสไลด์
เอฟเฟ็กต์ เน้น จะทำให้วัตถุลดหรือเพิ่มขนาด เปลี่ยนสี หรือหมุนรอบตัวเอง

การกำหนดลูกเล่นหลายแบบให้กับวัตถุชิ้นเดียว
ในPowerPoint 2010 และรุ่นที่ใหม่ กว่า คุณสามารถใช้ลักษณะพิเศษภาพเคลื่อนไหว (ภาพเคลื่อนไหว) กับข้อความ รูปภาพ รูปร่าง กราฟิก SmartArt และ อื่น ๆ เพื่อให้พวกเขาเล่นในการนำเสนอภาพนิ่งของคุณ สร้างงานนำเสนอภาพนิ่งที่ animates คะแนนแสดงหัวข้อย่อยหรือแม้แต่ผลิตเครดิต

การกำหนดลำดับการแสดงลูกเล่นภายในสไลด์
 สามารถกำหนดลำดับการแสดงข้อมูลของลูกเล่นที่กำหนดไว้ภายในสไลด์ได้ดังนี้
- คลิกเลือกรายการที่ต้องการเปลี่ยนแปลง
- คลิกเมาส์เลือกสลับตำแหน่งที่ต้องการ
- รายการภาพเคลื่อนไหวจะถูกสลับตำแหน่ง

การยกเลิกลูกเล่นภายในสไลด์
 หากลูกเล่นที่ได้กำหนดไว้ยังไม่เป็นที่น่าพอใจนัก สามารถเลิกหรือเปลี่ยนได้ดังนี้
 - คลิกรายการที่ต้องการยกเลิก
 - จะปรากฏลูกศรหัวลง (Drop Down) คลิกที่ลูกศร
 - คลิกเลือกเอาออก (Remove)

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอหน่วยที่5 การปรับแต่งสไลด์ด้วยข้อควม

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอหน่วยที่5 การปรับแต่งสไลด์ด้วยข้อควม

หน่วยที่5 การปรับแต่งสไลด์ด้วยข้อความ

- รูปแบบของการปรับแต่งสไลด์
  รูปแบบของการปรับตั้งสไลด์
    ชุดรูปแบบ เป็นรูปแบบของสี ลักษณะตัวอักษร และรูปภาพ ที่ใช้ในการตกแต่งงานนำเสนอให้
สวยงามได้อย่างรวดเร็ว สีของชุดรูปแบบเป็นรูปแบบของสีที่นำมาตกแต่งสไลด์แบบอักษรชุดรูปแบบเป็นรูปแบบของตัวอักษรที่ใช้กำหนดลักษณะของตัวอักษรลักษณะพิเศษของชุดรูปแบบ เป็นรูปแบบของลักษณะพิเศษใช้ตกแต่งสไลด์ ลักษณะพื้นหลัง เป็นการตกแต่งพื้นหลังที่แตกต่างออกไปจากเดิม
การใช้งานชุดรูปแบบ
คลิกเลือกสไลด์ที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบ
คลิกที่แท็บออกแบบ จากนั้นคลิกปุ่ม ในกลุ่มคำสั่ง ชุดรูปแบบ
คลิกขวาเลือกชุดรูปแบบที่ต้องการ
ความหมายของรูปแบบต่อไปนี้
รูปแบบที่เปลี่ยนไป




การตกแต่งสไลด์ด้วยชุดรูปแบบ
คลิกเลือกสไลด์ที่ต้องการ
คลิกที่แท็บออกแบบ
เลือกปุ่มคำสั่งสี
เลือกชุดรูปแบบสีที่ต้องการ
คลิกเมาส์ขวาเลือกรูปแบบการวาง
จะได้รูปแบบสีใหม่ตามต้องการ



การปรับแต่งรูปแบบข้อความบนสไลด์
1เลือกสไลด์ที่ต้องการ
2คลิกเลือกแท็บออกแบบ
3คลิกปุ่มคำสั่งแบบอักษร
4เลือกรูปแบบอักษรที่ต้องการ
5รูปแบบข้อความที่เปลี่ยนไป

วันพฤหัสบดีที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2560

     หน่วยที่ 10 การเตรียมตัวก่อนการนำเสนอ

เอกสารจำเป็นสำหรับงานนำเสนอ
ในการนำเสนอ ควรมีการจัดทำเอกสารประกอบการนำเสนอ เพื่อให้ผู้บรรยายใช้ดูรูปประกอบและแจกให้ผู้เข้าชมการนำเสนอเป็นเอกสารประกอบ ซึ่งเอกสารที่ควรจัดเตรียมมีดังนี้
1. สไลด์ (Slide)
2. บันทึกย่อ
3. เอกสารประกอบคำบรรยาย
4. หัวข้อที่เป็นเค้าร่าง

สไลด์ (Slide)
 สไลด์ คือ ภาพนิ่งที่ใช้การนำเสนอเนื้อหาซึ่งนักเรียนสามารถเรียกดูและใช้ควบคุมทำภาพนิ่งโดยมีขั้นตอนดังนี้
 1. คลิกเลือกสไลด์ที่ต้องการ
 2. คลิกที่ปุ่มมุมมองการนำเสนอภาพนิ่ง (Slide Show)
 3. จะปรากฏสไลด์ที่เลือกตามต้องการ
                

                

บันทึกย่อ (Note pane)
 บันทึกย่อ คือ ข้อความที่ได้สรุปประเด็นสำคัญไว้พูดิธิบายเนื้อหาภายในสไลด์แต่ละหน้า ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการพิมพ์ออกมาเป็นเอกสารไว้ดูในขณะบรรยายได้ โดยมีขั้นตอนในการสร้างดังนี้
1. เลือกมุมมองปกติ (Normal)
2. เลือกสไลด์ที่ต้องการ 
3. พิมพ์ข้อความลงในกรอบสีเหลี่ยมด้านล่างเพื่อทำการบันทึกย่อ

การสร้างเอกสารประกอบการบรรยาย
 สามารถสร้างเอกสารประกอบคำบรรยาย เพื่อแจกผู้ที่เข้ามารับฟังการบรรยายไว้จดเนื้อความสำคัญ โดยสามารถกำหนดให้มีเลขหน้า ข้อความภายในหัวกระดาษและท้ายกระดาษเหมือนกันบันทึกย่อได้อีกด้วย โดยทำตามขั้นตอนดังนี้
1. คลิกที่แท็บมุมมอง (View)
2. เลือกปุ่มคำสั่งแบบเอกสารประกอบคำบรรยาย (Handout Master View)
3. เลือกปุ่มคำสั่ง ภาพนิ่งต่อหน้า (Slide Per Page)
4. จะปรากฎจำนวนสไลด์ตามที่เลือกบนเอกสารประคำบรรยาย

            

การพิมพ์เอกสารในการนำเสนอ
 เพื่อเป็นการประหยัดกระดาษและหมึกพิมพ์ ก่อนที่จะพิมพ์ภาพนิ่งหรือเอกสารประกอบคำบรรยายสำหรับผู้ชมทั้งหมดของคุณ ให้พิจารณาการวางงานนำเสนอของคุณไว้ในตำแหน่งที่ตั้งที่ใช้ร่วมกันแทน จากนั้นก่อนที่จะมีการนำเสนอ ให้แจ้งให้ผู้ชมของคุณทราบถึงตำแหน่งที่ตั้งของงานนำเสนอนั้น ผู้ที่ต้องการเอกสารที่พิมพ์ก็สามารถพิมพ์ออกมาได้ ส่วนผู้ที่ไม่ต้องการก็ไม่จำเป็นต้องพิมพ์ออกมา

1. การตั้งค่าหน้ากระดาษ (Page Setup)
ก่อนที่จะพิมพ์เอกสาร ควรจัดวางหน้ากระดาษโดยทำตามขั้นตอนดังนี้
- คลิกที่แท็บคำสั่งมุมมอง (View)
- คลิกปุ่มคำสั่งต้นแบบเอกสารประกอบคำบรรยาย (Handout Master)
- คลิกปุ่มคำสั่ง ตั้งค่าหน้ากระดาษ (Page Setup)
- กำหนดคุณสมบัติในการตั้งค่าหน้ากระดาษดังนี้

2. การแสดงเอกสารก่อนการพิมพ์
 สามารถดูตัวอย่างหน้าจอได้เหมือนกับพิมพ์เอกสารออกทางเครื่องพิมพ์ทุกประการเพื่อตรวจดูความถูกต้องและแก้ไขข้อผิดพลาด โดยมีขั้นตอนดังนี้
- คลิกปุ่มแฟ้ม (File)
- คลิกปุ่มพิมพ์ (Print)
- จะปรากฎตัวอย่างก่อนพิมพ์อยู่ทางด้านขวามือของโปรแกรม

3. การพิมพ์เอกสารประกอบคำบรรยาย
 การพิมพ์เอกสารประกอบคำบรรยายนั้น ก็เหมือนพิมพ์เอกสารในโปรแกรมต่างๆในชุด Office 2010 โดยมีขั้นตอนดังนี้
- คลิกปุ่มแฟ้ม (File)
- เลือกคำสั่งพิมพ์ (Print)
- จะปรากฎหน้าต่างพิมพ์ โดยแต่ละส่วนมีความหมายดังนี้


การเชื่อมโยงสไลด์ด้วยปุ่มปฏิบัติการ
 โดยปกติแล้วจะใช้การควบคุมการแสดงหน้าสไลด์ด้วยการคลิกเมาส์หรือกดปุ่ม PgUp หรือ PgDn แต่ในโปรแกรม Power Point สามารถใช้ปุ่มปฏิบัติการเชื่อมโยงการแสดงหน้าสไลด์ได้ดังนี้ 
1. คลิกที่แท็บแทรก (Insert)
2. คลิกปุ่มคำสั่งรูปร่าง (Shapes)
3. เลือกรูปแบบปุ่มปฏิบัติการที่ต้องการ (Action Buttons)
4. แแดรกเมาส์เพื่อสร้างปุ่มจะปรากฏกล่องโต้ตอบ Action Setting
5. คลิกแท็บคลิกเมาส์ (Mouse Click)
6. เลือกเชื่อมโยงหลายมิติไปที่ (Hyperlink to)
7. คลิกที่ลูกศรหัวลง (Drop Down)
8. เลือกตำแหน่งที่ต้องการ
9. คลิกปุ่มตกลง OK

หน่วยที่ 9 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ

  การใส่รูปเล่มในการนำเสนอข้อมูล จะช่วยให้ข้อมูลนั้นดูน่าสนใจมากยิ่งขึ้น โดยสามารถแทรกวัตถุ หรือสื่อมัลติเดียลงไปในสไลด์ได้
 รูปแบบในการใส่ลูกเล่นในงานนำเสนอ
 นำเสนอแบ่งออกเป็น 2 แบบใหญ่ๆ คือ

1. การใสลูกเล่นให้กับหน้าสไลด์
 จะเป็นการสร้างความเคลื่อนไหวให้กับหน้าสไลด์ที่กำลังแสดงและจบลง โดยมีขั้นตอนในการสร้างดังนี้
- เลือกสไลด์ที่ต้องการลูกเล่น
- คลิกแท็บการเปลี่ยน (Transitions)
- เลือกรูปแบบการเปลี่ยนสไลด์
- เลือกเสียง (Sound) ประกอบให้กับสไลด์
- ระยะเวลาการเล่น
                    
           


2. การใส่ลูกเล่นให้กับวัตถุภายในสไลด์
 จะเป็นการสร้างการเคลื่อนไหวให้กับองค์ประกอบต่างๆ ที่อยู่ภายในสไลด์โดยแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
 1. การใส่ลูกเล่นอย่างง่าย
 วิธีเหมาะสำหรับมือถือใหม่ที่พึ่งหัดใช้โปรแกรมเพราะโปรแกรมจะมีรูปแบบสำเร็จรูปไว้ให้เลือกใช้งานได้ตามความพอใจ ซึ่งวิธีนี้เป็นวิธีที่สะดวกและรวดเร็วที่สุด
- คลิกเลือกวัตถุที่ต้องการใส่ลูกเล่น
- คลิกแท็บภาพเคลื่อนไหว
- เลือกรูปแบบที่ต้องการ
                      
                   


2. การใส่ลูกเล่นแบบกำหนดเอง
 เป็นการใส่ลูกเล่นให้มีความโดดเด่นกว่าลูกเล่นที่โปรแกรมได้กำหนดให้ ทำให้กำหนดได้โดยไม่ต้องซ้ำแบบใคร โดยมีขั้นตอนในการใส่ดังนี้
- เลือกวัตถุที่ต้องการ
- คลิกที่แท็ปภาพเคลื่อนไหว (Animation)
- เลือกเพิ่มภาพเคลื่อนไหว (Add Animation)
- เลือกลูกเล่นให้กับวัตถุ
- กำหนดความเร็ว



โดยในโปรแกรมได้แบ่งลูกเล่นต่างๆออกเป็นหมวดหมู่ดังนี้

มีเอฟเฟ็กต์ภาพเคลื่อนไหวอยู่สี่ประเภทด้วยกัน ได้แก่
เอฟเฟ็กต์ เข้า จะทำให้วัตถุค่อยๆ ปรากฏในโฟกัส หรือลอยเข้ามาจากขอบด้านใดด้านหนึ่งของสไลด์ หรือเด้งเข้ามาก็ได้
เอฟเฟ็กต์ ออก จะรวมถึงการทำให้วัตถุลอยออกไปจากสไลด์ หายไปจากมุมมอง หรือหมุนตัวออกไปจากสไลด์
เอฟเฟ็กต์ เน้น จะทำให้วัตถุลดหรือเพิ่มขนาด เปลี่ยนสี หรือหมุนรอบตัวเอง


                                      

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ หน่วยการเรียนรู้ที่9 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ หน่วยการเรียนรู้ที่9 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ  หน่วยการเรียนรู้ที่9 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ - กา...